รองศาสตราจารย์ ดร.ประพันธ์ ศุภษร
01 ประวัติและผลงาน
02 ต้นทุนชีวิตที่ดีงาม (หนังสือ)
ผลงานวิจัย
-การใช้เหตุผลในพระไตรปิฎก,วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ ฉบับที่ ๑ มกราคม – เมษายน, พ.ศ. ๒๕๕๘.
-กระบวนการพัฒนาจิตอาสาตามแนวพระพุทธศาสนา, ได้รับทุนอุดหนุนจากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์, พ.ศ. ๒๕๕๕
-การอธิบายธรรมด้วยหลักเหตุผลในคัมภีร์อรรถกถาพระสุตตันตปิฎก, สถาบันวิจัยพุทธศาสตร
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๗.
–วิถีวัฒนธรรมการเอื้ออาทรของชาวพุทธในสังคมไทย, ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙ (ร่วมวิจัย)
-วิถีวัฒนธรรมแบบเอื้ออาทรในประชาคมอาเซียนของประเทศไทยและกัมพูชา, สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๐. (ร่วมวิจัย)
-การสืบทอดภูมิปัญญาชาดกผ่านวิถีวัฒนธรรมท้องถิ่นของชาวพุทธจังหวัดร้อยเอ็ด,สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๑
-พระพุทธศาสนากับโหราศาสตร์ : การพึ่งพาและแนวการปฏิบัติในสังคมไทยยุคไทยแลนด 4.0, สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๒ (ร่วมวิจัย)
บทความวิชาการ
ประพันธ์ ศุภษร, “พระวินัยกับการบรรลุธรรม”, วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๓ กรกฎาคม – กันยายน ๒๕๔๙
พระวินัยที่สัมพันธ์กับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม : ศึกษากรณีพระ วินัย ๒๒๗ ข้อในพระวินัยปิฎก, วารสาร พ.ส.ล. พ.ศ.๒๕๔๑
กระบวนทัศน์การพัฒนามนุษยแบบองค์รวมในทัศนะของพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต),วารสาร บัณฑิตศึกษาปริทรรศน ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๕๐
มหานิทเทสคัมภีร์ว่าด้วยศาสตร์แห่งการขยายความยุคต้น, วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๑ มกราคม-มีนาคม ๒๕๕๑
บทความวิจัย
พ.ศ. ๒๕๖๔
ประพันธ์ ศุภษร, “การสืบทอดภูมิปัญญาชาดกผ่านวิถีวัฒนธรรมท้องถิ่น ของชาวพุทธในจังหวัดร้อยเอ็ด”, วารสารมหาจุฬาวิชาการ, ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ , (มกราคม – เมษายน ๒๕๖๔) :๓๒-๔๖
พ.ศ. ๒๕๖๓
ทรงวิทย์ แก้วศรี,ประพันธ์ ศุภษร,นวลวรรณ พูนวสุพลฉัตร, “การศึกษาบทบาทของพระพุทธเจ้าในฐานะทรงเป็นต้นแบบนวัตกรรมเครื่องนุ่งห่มที่เป็นมิตรกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม: กรณีศึกษาเฉพาะผลิตภัณฑ์จีวร”,(ร่วมวิจัย) วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์, ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม.-ธันวาคม ๒๕๖๓) : ๑๕-๒๖
พ.ศ. ๒๕๖๒
สมคิด เศษวงศ์,ประพันธ์ ศุภษร,”วิถีวัฒนธรรมแบบเอื้ออาทรเชิงพุทธในประชาคมอาเซียน : กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศกัมพูชา”,วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, ปีที่ ๑๕ ฉบับเพิ่มเติม (มีนาคม ๒๕๖๒) : ๘๙-๑๐๐