ผลงานวิชาการ รศ. ดร.แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม


รองศาสตราจารย์ ดร.แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม
ผู้อำนวยการหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต ภาคเสาร์ อาทิตย์

งานวิจัย

รศ. ดร.แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม, ศ. ดร.มาร์ติน เซเกอร์, ผศ. ดร. อรชร ไกรจักร์, ดร.กรรณิการ์ ขาวเงิน, นางกนกอร ก้านน้อย, “หอจดหมายเหตุแม่ชีไทยออนไลน์”, ได้รับทุนอุดหนุนโครงการวิจัย ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗ จากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

รศ. ดร.แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม, ผศ. ดร.อรชร ไกรจักร์, ดร. กรรณิการ์ ขาวเงิน, พระมหาวรัญธรณ์ ศรีขุ้ย, พระมหาวุฒิชัย บุญถึง, “การยกระดับการจัดการขยะสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรมวิถีพุทธ”, (ทุนวิจัยจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว) ปี ๒๕๖๗)) ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผลงานวิจัยหรือการสร้างสรรค์ ระดับดีมาก จากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มจร ปี ๒๕๖๗

แสงเดือน พรมแก้วงาม,อารยา เจรนุกุล, แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม, สายใหม ตุ้มวิจิตร,พัชร์ลิตา ฉัตรวริศพงศ์, “ประสบการณ์ชีวิตการร่วมโปรแกรมสวดมนต์แบบออนไลน์ของผู้เจ็บป่วยด้วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงระยะลุกลามขณะได้รับการ รักษาด้วยเคมีบำบัด”, (ทุนวิจัยจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สกสว ปี ๒๕๖๖)

อรชร ไกรจักร์, แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม, กรรณิการ์ ขาวเงิน,“แพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อส่งเสริมสัมมาชีพตามแนวพุทธในชุมชนโดยใช้ขยะรีไซเคิล จากโครงการเศรษฐกิจหมุนเวียนเป็นฐาน” ปีงบประมาณ ๒๕๖๖

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม,ศาสตราจารย์ ดร.มาร์ติน เซเกอร์,กรรณิการ์ ขาวเงิน,ความสำคัญของชุมชนทางศาสนาของสตรี: ความเป็นตัวตนและศักยภาพด้านการส่งเสริมการรู้พระพุทธศาสนาและการขับเคลื่อนการทำงานทางศาสนาของชุมชนสตรีในสังคมไทย, (ทุนสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ๒๕๖๖)

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม,อรชร ไกรจักร,กรรณิการ์ ตั้งตุลานนท์, “เครือข่ายชุมชนปลอดขยะวิถีพุทธภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน: อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา” (ทุนสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม มจร.๒๕๖๕)

นวัตกรรมดิจิทัลเพื่อพัฒนาระบบการเรียนรู้มรดกทางวัฒนธรรมในบริบทพระพุทธศาสนา, (หัวหน้าโครงการวิจัย ทุนสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มจร.) พ.ศ. ๒๕๖๔  *รางวัลผลงานวิจัยระดับ “ดีมาก” ประจำปี ๒๕๖๔ ของสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

แพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อการขับเคลื่อนชุมชนปลอดขยะวิถีพุทธ ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน, (หัวหน้าโครงการวิจัย  ทุนสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มจร.) พ.ศ. ๒๕๖๕

รูปแบบและกระบวนการจัดการท่องเที่ยวในทางพระพุทธศาสนาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ:กระบวนการเปลี่ยนแปลง เส้นทางบุญสู่เส้นทางธรรม, (หัวหน้าโครงการวิจัย ทุน สกว.) พ.ศ. ๒๕๕๖

ศึกษาทัศนคติที่มีต่อการเรียนการสอนหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, (ทุนสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์), พ.ศ.๒๕๕๔


บทความวิจัย

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม, อรชร ไกรจักร์, กรรณิการ์ ขาวเงิน, พระมหาวรัญธรณ์ ศรีขุ้ย, พระมหาวุฒิชัย บุญถึง, พระมหานุกูล อริยธรรมวัฒนา,การบูรณาการหลักการจัดการขยะ และหลักพุทธธรรมเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมวิถีพุทธสำหรับจัดการขยะในชุมชน, วารสารวิจยวิชาการ, ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (มีนาคม-เมษายน 2568): 261-277.
TCI 1

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม, อรชร ไกรจักร์, กรรณิการ์ ขาวเงิน, พระมหาวรัญธรณ์ ศรีขุ้ย, พระมหาวุฒิชัย บุญถึง, พระมหานุกูล อริยธรรมวัฒนา,การจัดการขยะมูลฝอยโดยใช้นวัตกรรมวิถีพุทธ ในบ้านหนองสรวง หมู่ที่ ๕ ตำบลหนองขนาก อำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, วารสารวิจยวิชาการ, ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม-กุมภาพันธ์ 2568): 93-111. TCI 1

อารยา เจรนุกุล, แสงเดือน พรมแก้วงาม, กฤษณา รักษาโฉม, นงลักษณ์ อนันตอาจ, “ประสบการณ์การเผชิญการมเจ็บป่วยและแก่นสาระของพุทธธรรมที่นำมาใช้ขณะเจ็บป่วยของผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงระยะลุกลาม”, วารสารสังคมและวัฒนธรรม ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 (พฤศจิกายน 2567(2024)): 244-260  TCI 1

แสงเดือน พรมแก้วงาม, อารยา เจรนุกุล, แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม, สายใหม ตุ้มวิจิตร,พัชร์ลิตา ฉัตรวริศพงศ์, “ประสบการณ์ชีวิตการร่วมโปรแกรมสวดมนต์แบบออนไลน์ของผู้ที่เจ็บป่วยด้วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงระยะลุกลามขณะได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัด“, วารสารสังคมและวัฒนธรรม ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 (เมษายน 2567(2024)): 87-99 TCI 1

อรชร ไกรจักร์, แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม, กรรณิการ์ ขาวเงิน, “แพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อส่งเสริมสัมมาชีพตามแนวพุทธในชุมชนโดยใช้ขยะรีไซเคิล จากโครงการเศรษฐกิจหมุนเวียนเป็นฐาน”, วารสารวิจยวิชาการ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-กุมภาพันธ์ 2567) : 149-166  TCI 1

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม, มาร์ติน เซเกอร์, กรรณิการ์ ขาวเงิน, “ความสำคัญของชุมชนทางศาสนาของสตรี: ความเป็นตัวตนและศักยภาพด้านการส่งเสริมการรู้พระพุทธศาสนาและการขับเคลื่อนการทำงานทางศาสนาของชุมชนสตรีในสังคมไทย”, วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร ปีที่ 11 ฉบับที่ 6 (กันยายน-ตุลาคม 2566), Journal of MCU Peace Studies Vol. 11 No. 6 (September-October 2023) : 2480-2496. TCI 1

เเม่ชีกฤษณา รักษาโฉม,อรชร ไกรจักร์, กรรณิการ์ ตั้งตุลานนท์ “เครือข่ายชุมชนปลอดขยะวิถีพุทธภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน : อำเภอพระนครศรีอยุธยา”, วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์, Volume 11, Issue 4, 2023, pp. 1562-1574 TCI 1

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม, นัชชา ทากุดเรือ, ปริวุฒิ ภิญโญสินวัฒน์, “รูปแบบและกระบวนการสร้างจิตสาธารณะเพื่อการจัดการท่องเที่ยวของแหล่งท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนาอย่างยั่งยืน”, วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, Volume 9, Issue 2, 2017, pp. 83-97

Mae Chi Kritsana Raksasom,Martin Seeger, “Mae Chi (Buddhist Nuns):Promlems and Opportunities of Access to Higher Education Organized by Thai Sangkha“, The Chulalongkorn Journal of Buddhist Studies Volume 8, 2014,
P.71-113. 

เเม่ชีกฤษณา รักษาโฉม, “ปัญหาการตีความ : พุทธดำรัสเกี่ยวกับการบวชภิกษุณี”, วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, Volume 4, Issue 2, 2008, pp. 19-52


บทความวิชาการ

พระมหาวรัญธรณ์ ญาณกิตฺติ, แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม, อรชร ไกรจักร์,จรุงใจ เกรียงบูรพา, “คำศัพท์ “ธรรมจักษุ”: การอธิบายผ่านแนวคิดเกมภาษาของลุดวิก วิทเกนสไตน์
The Term “Dhammacakkhu”:
An Explanation through Ludwig Wittgenstein’s Language Games”, วารสารมหาจุฬาวิชาการ, ปีที่ ๑๒ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – เมษายน 2568(2025)),: 304-324. TCI ๒.

พระมหาวรัญธรณ์ ญาณกิตฺติ, แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม, อรชร ไกรจักร์, “การตีความอุปาลิวาทสูตรโดยใช้อรรถปริวรรตศาสตร์ของฮันส์-จอร์จ กาดาเมอร์“, วารสารมหาจุฬาวิชาการ, ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๓ (ตุลาคม – ธันวาคม 2567(2024)),: 56-72. TCI ๒.

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม,อรชร ไกรจักร์,พระมหาวรัญธรณ์ ญาณกิตฺติ (๒๕๖๔), “ขณะจิตสุดท้าย: ความจริงที่ชาวพุทธควรรู้”, วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๔),: ๑๑๗-๑๒๗. TCI ๒

อรชร ไกรจักร์ เเม่ชีกฤษณา รักษาโฉม พระมหาวรัญธรณ์  ญาณกิตฺติ. (๒๕๖๔), “บุคลิกภาพของพระภิกษุตามหลักเวสารัชชกรณธรรม”, วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๓ (กันยายน–ธันวาคม ๒๕๖๔),: ๑๑๓-๑๒๕. TCI ๒

พระมหาวรัญธรณ์ ญาณกิตฺติ เเม่ชีกฤษณา รักษาโฉม  อรชร ไกรจักร์. (๒๕๖๖), “การศึกษาเชิงวิเคราะห์การประสูติของเจ้าชายสิทธัตถะ”, วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๓  (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๖),: ๑๒๒-๑๓๖. TCI ๒

พระมหาวรัญธรณ์ ญาณกิตฺติ เเม่ชีกฤษณา รักษาโฉม อรชร ไกรจักร์ (๒๕๖๖), “การศึกษาวิเคราะห์พระพุทธพจน์ที่ว่า ถ้าสงฆ์ปรารถนา จะถอนสิกขาบทเล็กน้อยเสียบ้างก็ถอนได้”, วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๖),: ๘๓-๑๐๔. TCI ๒

ผลงานแปลและเรียบเรียง
ผศ.ดร.แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม, สีลขันธวรรคฎีกา พระธรรมปาลเถร รจนา, กรุงเทพมหานคร, ๒๕๖๖

คลิกที่ภาพปกหนังสือเพื่อเปิดอ่านหนังสือฉบับดิิจิทัล

 

 

Mae Chi Kritsana Raksasom,Martin Seeger.(๒๐๑๔) “Mae Chi (Buddhist Nuns):Promlems and Opportunities of Access to Higher Education Organized by Thai Sangkha. Published by Center for Buddhist Studies.Printed by:Chulalongkorn University Printing House[๕๗๑๑-๑๖๒] Chulalongkorn University Bangkok,Thailand. P.๗๑-๑๑๓. ISBN ๒๒๒๙-๑๒๒๙.

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม.(๒๕๕๒)ปัญหาการตีความพระพุทธดำรัสต่อพระอานนท์หลังการ บวชของพระนางมหาปชาบดีโคตมี.วารสารพุทธศาสน์ศึกษา.ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๓(กันยายนธันวาคม):๗๐-๘๘. TCI ๒

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม.(๒๕๕๒)เหตุปัจจัยแห่งความเสื่อมสูญของภิกษุณีเถรวาทในยุคหลัง พุทธกาล.วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์.ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๓ (กรกฎาคม-กันยายน):๑๓๗- ๑๘๒. TCI ๑

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม.(๒๕๕๔)ปัญหาการปรับอาบัติพระอานนท์.วารสารบัณฑิตศึกษา ปริทรรศน์.ปีที่ ๗ ฉบับที่๑ (มกราคม-มิถุนายน):๒๑-๓๐ TCI ๑

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม.(๒๕๕๕)ปัญหาความซ้ำซ้อนของขั้นตอนการบวชเป็นภิกษุณี. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์.ปีที่ ๘ ฉบับที่๑ (มกราคม-เมษายน):๑-๑๓ TCI ๑

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม.(๒๕๕๕)พระพุทธศาสนาในเซินเจิ้น:มณฑลกวางตุ้ง สาธารณรัฐ ประชาชนจีน.เผยแผ่ใน WWW.MCU.ac.th.

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม.(๒๕๕๘).“ปัญหาแผนจำกัดภิกษุณีกับการปลอมครุธรรมและ สิกขาบทอื่นๆ.”วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์(ฉบับพิเศษ) ในงาน The ๑ th MCU ๔ International Academic Conference(MIAC) ๒๙th May ๒๐๑๕. Proceeding):๔๖๓- ๔๗๗.

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม.(๒๕๕๙). “จริงหรือพระสัทธรรมจะดำรงอยู่ ๕๐๐ ปีเมื่อสตรีออกบวช” .ว า ร ส า ร บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ป ริ ท ร ร ศ น์ . ใน งา น The ๒ nd MCU International Academic Conference(MIAC) ๑๙th May ๒๐๑๖.(Proceeding) : ๓๒๖-๓๓๓.

แ ม่ ชี ก ฤ ษ ณ า รั ก ษ า โ ฉ ม . ( ๒ ๕ ๖ ๐ ) วิจารณ์บทความเรื่อง การต่อสู้ของภิกษุณีสงฆ์เถรวาท:จากลังกาสู่ไทย เขียนโดยกุลวีร์ ประภาพรพิพัฒน์ วิจารณ์โดยแม่ชีกฤษณา รักษาโฉม.วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์.ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๓ (กันยายนธันวาคม):๑๘๘-๑๙๔.TCI ๑.

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม.ดร.อรชร ไกรจักร์.(๒๕๖๑).สะท้อนภาพการเมืองในมุมมองของ พระพุทธศาสนา.The ๙ th International and the ๑ st National Buddhist Research Seminar,๒-๓April ๒๐๑๘ MCU Srisaket Campas,Thailand. P๑๘. (Proceeding).

 

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่  (ทั้งที่เป็นเจ้าของโครงการและร่วมโครงการ)

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม,Martin Seeger. (๒๕๕๖).“แม่ชีกับสภาพปัญหาและโอกาสในการ เข้าถึงอุดมศึกษาที่ จัดโดยคณะสงฆ์ไทย.” วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม –สิงหาคม) : ๕๙-๘๔. TCI ๒.

      แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม (๒๕๕๖).รูปแบบและกระบวนการจัดการท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ:เส้นทางบุญสู่เส้นทางธรรม.วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์.ปีที่ ๙ ฉบับ ที่๓ (กันยายน-ธันวาคม):๒-๑๕. TCI ๑.

      แม่ชีกฤษณา  รักษาโฉม.(๒๕๖๐).รูปแบบและกระบวนการสร้างจิตสาธารณะเพื่อจัดการท่องเที่ยวของแหล่งท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนาอย่างยั่งยืน.วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์.ปีที่๙ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคมธันวาคม):๘๓-๙๗. TCI ๒.

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม.ดร.อรชร ไกรจักร์.ดร.ขันทอง วัฒนะประดิษฐ์.(๒๕๖๐).                                   Panjapala for Sustainable Development of Cooperatives.The ๑st International Conference on Buddhism:Cultural Foundation in Mekong Besin with the Collaboration of MCU Nakhon Phanom Buddhist College Dccember ๒-๔,๒๐๑๗ At Nakhon Phanom Buddhist College.(Proceeding).

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม.ศ.ดร.มาร์ติน เซเกอร์.(๒๕๖๑).ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของชุมชนนักบวชหญิงในสังคมไทย.วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์.ปีที่ ๑๔ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม):๑๘-๒๘.TCI ๑.

พระมหาสุรศักดิ์ ปจฺจนฺเสโน, ผศ. ดร.  ผศ.ดร.วุฒินันท์ กันทะเตียน, ผศ.ดร.แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม.(๒๕๖๒).โครงการพัฒนาองค์ความรู้และกระบวนการสร้างเสริมสุขภาวะในการลดปัจจัยเสี่ยงเชิงพุทธบูรณาการ.วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์.ปีที่ ๑๕ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม):๕๖-๖๗.TCI ๑

แม่ชีกฤษณา  รักษาโฉม.(๒๕๖๓).ศึกษาวิเคราะห์แนวคิดเรื่องจิตในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท.วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์.ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๔ (กรกฎาคม-สิงหาคม): TCI ๑.

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม,ดร.กรรณิการ์ ตั้งตุลานนท์,นายพชรวีร์ ทองประยูร.(๒๕๖๕)การพัฒนาฐานข้อมูลและหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการเรียนรู้มรดกโลกทางวัฒนธรรมในบริบทพระพุทธศาสนา.วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๒ (มีนาคม-เมษายน):๕๒๓-๕๓๗.TCI ฐาน ๑

          แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม,ผศ.พิเศษ ดร.อรชร ไกรจักร์,ดร.กรรณิการ์ ขาวเงิน (๒๕๖๕).นวัตกรรมดิจิทัลเพื่อพัฒนาระบบการเรียนรู้มรดกโลกทางวัฒนธรรมในบริบทพระพุทธศาสนา.วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๓(พฤษภาคม):๙๗๑-๙๘๕.TCI ฐาน ๑.

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม,ผศ.พิเศษ ดร.อรชร ไกรจักร์,ดร.กรรณิการ์ ขาวเงิน (๒๕๖๖).แพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อการขับเคลื่อนชุมชนปลอดขยะวิถีพุทธภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน.วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๒(มีนาคม-เมษายน ๒๕๖๖) TCI ๗๓๗-๗๕๓.ฐาน ๑.

 

 

บทความวิจัยในฐานะกรรมการที่ปรึกษา
ศุภกร เรืองวิชญกุล, พระราชปริยัติมุนี (เทียบ สิริญาโณ), แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม, “ศึกษาวิธีปฏิบัติวิปัสสนาตามแนวของพุทธทาสภิกขุ”, วารสารมหาจุฬาวิชาการ, Volume 8, Issue 3, 2021, pp. 26-38